วันอังคารที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2553

บทที่ 3 ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเดินทางนักท่องเที่ยว

ทฤษฎีต่างๆเกี่ยวกับแรงจูงใจของนักท่องเที่ยว









1.ทฤษฎีลำดับขั้นแห่งความต้องการจำเป็น (Hierarchy of needs)
Maslow กล่าวว่ามนุษย์เป็นสัตว์ที่มีความต้องการและแสดงพฤติกรรมต่างๆ เพื่อที่จะสนองตอบความต้องการและความต้องการจำเป็นต่างๆ ความต้องการของนุษย์ไม่มีวันจบสิ้น เมื่อต้องการอย่างหนึ่งได้รับ ความต้องการอีกระดับหนึ่งก็จะเกิดขึ้นมาแทนที่ Maslowเสนอควมต้องการของมนุษย์ทั้งหลายรวม 5 ขั้น


2.ทฤษฎีขั้นบันไดแห่งการเดินทาง (Travel Career Ladder) Philip Pearce ประยุกต์จากทฤษฎีของ Maslow แต่มีความแตกต่างกันยกเว้นความต้องการในขั้นสูงสุด ทฤษฎีของ Philip มีดังนี้
-ความต้องการที่จะได้รับความพึงพอใจอย่างสูงสุด
-ความต้องการความปลอดภัยมั่นคง
-ความต้องการสร้างสัมพัธภาพ
-ความต้องการความภาคภูมิใจและการพัฒนาตนเอง
-ความต้องการที่จะได้ความพึงพอใจอย่างสูงสุด

3.แรงจูงใจวาระซ่อนเร้น(Hidden Agenda) ของ Crompton มี 7 ประเภท
-การหลีกหนีจากสภาพแวดล้อมที่จำเจ
-การสำรวจและการประเมินตนเอง
-การพักผ่อน
-ความต้องการเกียรติภูมิ
-ความต้องการที่จะถอยกลับไปสู่สภาพดั้งเดิม
-กระชับความสัมพันธ์ทางเครือญาติ
-การเสริมสร้างการปะทะสังสรรค์ทางสังคม

4.แรงจูงในมาการท่องเที่ยวในทัศนะของ Swarbrooke มี 6 แรงจูงใจ
-แรงจูงใจทางด้านเสรีหรือกายภาพ
-แรงจูงใจทางด้านวัฒนธรรม : ความสนใจที่จะสัมผัสวัฒนธรรมที่แปลกใหม่
-การท่องเที่ยวเอตอบสนองอารมณ์ความรู้สึกบางย่าง : ความต้องการเห็นสิ่งที่เป็นอดีต การต้องชมบรรยายกาศที่โรแมนติก หรือไมก็ต้องการความตื่นเต้นผจญภัย
-การท่องเที่ยวเพื่อให้ได้มาเพื่อสถานภาพ : แรงจูงใจที่อยากได้ชื่อว่าเที่ยวแล้วมีหน้าตา
-แรงจูงใจในการพัฒนาตนเอง : เดินเพื่อหาความรุ้และทักษะใหม่ๆ
-แรงจูงใจส่วนบุคคล

แนวโน้มของแรงจูงใจของนักท่องเที่ยว
Pearce,Morrison และ Rutledge ได้นำเสนอแรงจูงใจของนักท่องเที่ยว 10 ประการ
1.แรงจูงใจที่จะได้สัมผัสสิ่งแสลล้อม แบ่งเป็นสิ่งแวลล้อมสีน้ำเงิน หรือสิ่งแวลล้อมทางทะเล และสิ่งแวลล้อมสีเขียวหรือสิ่งแวลล้อมประเภทป่าไม้
2.แรงจูงใจที่จะได้พบปะกับคนในท้อถิ่น
3.แรงจุงใจที่จะที่เข้ามจวัฒนธรรมท้องถิ่นและประเทศเจ้าบ้าน
4.แรงจูงใจที่เสริมสร้างสัมพนธภาพในครอบครัว
5.แรงจูงใจที่จะได้พักผ่อนในสภาพแวลล้อมที่น่าสบาย
6.แรงจูงใจที่จะที่จะได้ทำกิจกรรมที่นักท่องเที่ยวสนใจและฝึกทักษะ
7.แรงจูงใจที่จะมีสุขภาพดี
8.แรงจูงใจที่จะได้รับการคุ้มกันและความปลอดภัย
9.แรงจูงใจที่จะได้รับการยอมรับนับถือและได้รับสถานภาพทางสังคม
10.แรงจูงใจที่จะไห้รางวัลแก่ตนเอง

โครงสร้างพื้นฐานในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
โครงสร้างพื้นฐานในอุคสาหกรรมการท่องเที่ยว หมายถึง องค์ประกอบพื้นฐานในการรองรับการท่องเที่ยวทั้งระบบ ถือเป็นส่วนการสนับสนุนให้การท่องเที่ยวสามารถดำเนินงานไปได้ด้วยดี และทำให้เกิดความสะดวกสบายรวดเร็วในการดำเนินธุรกิจ โครงศร้างพื้นฐานหลักๆได้แก่
1. ระบบไฟฟ้า : เพียงพอ ทั่วถึง และใช้การได้ดี ไม่ก่อให้เกิดความเสียหายหรืออันตรายต่อผู้ใช้บริการ
2. ระบบประปา : สะอาด ถูกหลักอนามัย มีปริมาณเพียงพอ
3.ระบบสื่อสารโทรคมนาคม : โทรศัพท์มีสาย/ไร้สาย ไปรษณีย์ เป็นต้น ต้องมีความสะดวก รวดเร็ว มีปริมาณที่เยงพอ
4.ระบบขนส่ง
5.ระบบสาธารณสุข

ปัจจัยที่ส่งเสริมการท่องเที่ยวในแต่ละภูมิภาค
1.ปัจจัยทางภูมิศาสตร์ คือสิ่งที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ บางแห่งเป็นภูเขา เป็นแอ่งอ่าว ที่ราบสูง ทะเลสาป
1.1.ลักษณะภูมิประเทศ เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก มีได้2ลักษะณะคือ
ก.เกิดจากภายในของเปลือกโลกมีการเปลี่ยนแปลง เช่นภูเขาไฟ
ข.การเปลี่ยนแปลงบริเวณผิวโลก เช่นเนินทราย
1.2ลักษณะภูมิอากาศ ต่างกันไปตามที่ตั้งของสถานที่นั้นๆตามเส้นละติจูด
2.ปัจจัยทางวัฒนธรรม หมายถึงวิถีการดำเนินชีวิตของคนไทยในสังคม วัฒนธรรมต้องมีการธำรงรักษาและมีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงให้เหมาะสมตามยุคสมัย วัฒนธรรมถือว่าเป็นสิ่งที่ดึงดูดใจให้คนต่างชาติเข้ามาชม

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น